1.2.5 พื้นฐานในการเขียนโปรแกรมด้วย
Visual Basic6
ข้อมูลชนิดต่างๆ ที่ Visual Basic อนุญาตให้เราสามารถใช้งานในการเขียนโปรแกรมได้แก่
ชนิด
|
คำอธิบาย
|
ขนาดหน่วยความจำ
|
Byte
|
เป็นข้อมูลตัวเลขจำนวนเต็มตั้งแต่ 0 ถึง 255
|
1 ไบต์
|
Boolean
|
เป็นข้อมูลทางตรรก : จริง (TRUE), เท็จ (FALSE)
|
2 ไบต์
|
Integer
|
เป็นจำนวนเต็มระหว่าง –32,768 ถึง 32,767
|
2 ไบต์
|
Long
|
เป็นจำนวนเต็มระหว่าง –
2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647
|
4 ไบต์
|
Single
|
เป็นเลขทศนิยมระหว่าง –3.402823E38 ถึง –1.401298E-4 สำหรับค่าลบ และ 1.401298E-45 ถึง 3.402823E38 สำหรับค่าบวก 4 ไบต์
|
|
Double
|
เป็นเลขทศนิยมระหว่าง –1.79769313486232E308
ถึง –4.940656458-41247E-324
สำหรับค่าลบและ 4.940656458-41247E-324 ถึง 1.79769313486232E308 สำหรับค่าบวก
|
8 ไบต์
|
Currency
|
เป็นเลขที่มีค่าตั้งแต่ –922,337,203,685,477.5808
ถึง 922,337,203,685,477.5807
|
8 ไบต์
|
Date
|
เป็นวันที่ตั้งแต่ 1 มกราคม ค.ศ. 100 ถึง 31
ธันวาคม ค.ศ.9999
|
8 ไบต์
|
Object
|
เป็นข้อมูลที่อ้างอิงออบเจ็กต์ จึงเก็บแอดเดรสของออบเจ็กต์ไว้
|
4 ไบต์
|
String
|
เก็บสตริง หรือข้อความที่เรียงต่อกัน
|
64 KB หรือ 2 MB
|
Variant
|
เป็นข้อมูลชนิดพิเศษที่เก็บค่าได้ทุกแบบ (รวมไปถึงค่าพิเศษต่างๆ
(ที่มีตัวเลข) เช่น EMPTY, NULL เป็นต้น)
|
16 ไบต์
|
จากตารางจะเห็นว่าข้อมูลชนิด (Variant เป็นข้อมูลที่สามารถแทนชนิดข้อมูลอื่นๆ ได้ทุกแบบ โดย Visual Basic
จะตัดสินใจเองว่าควรจะเก็บข้อมูลที่เป็น Variant แบบใด โดยยึดสภาวะรอบข้างในการตัดสินใจ (Context Decision)
ตัวแปร และการประกาศค่า (Variable and
Variable Declaration)
|
ในการใช้ข้อมูลชนิดต่างๆ
เราต้องกำหนดตัวแปรเพื่อให้กับข้อมูลชนิดที่เราต้องการ
โดยเราจะต้องประกาศชื่อตัวแปรให้ Visual Basic ได้รู้จักโดยใช้คำสั่ง
Dim (ย่อมาจาก Dimension)
หากเราไม่มีการระบุชนิดของตัวแปร
Visual Basic จะกำหนดให้ชนิดตัวแปรนั้นเป็น Variant
ตัวอย่างการออกแบบและเขียนคำสั่งในโปรแกรม
ให้ออกแบบหน้าจอภาพของฟอร์ม
และกำหนดคุณสมบัติดังนี้
การบวก
1. กำหนดคุณสมบัติของฟอร์มและคอนโทรลต่างๆ
ตามตารางดังนี้
ชนิดของคอนโทรล
|
ช่องคุณสมบัติ
|
ค่าที่กำหนดให้
|
Frame
|
Name
|
Frame1
|
TextBox
|
Name
|
Text1
Text2
Text3
|
CommandButton
|
Name
Caption
|
Cmdok
คำนวณ
|
2. ให้ดับเบิลคลิกที่ CommandButton ใน Frame การบวก แล้วเขียนคำสั่งทดสอบการใช้งาน
ดังนี้
|
การลบ
3. กำหนดคุณสมบัติของฟอร์มและคอนโทรลต่างๆ
ตามตารางดังนี้
ชนิดของคอนโทรล
|
ช่องคุณสมบัติ
|
ค่าที่กำหนดให้
|
Frame
|
Name
|
Frame2
|
TextBox
|
Name
|
Text4
Text5
Text6
|
CommandButton
|
Name
Caption
|
Cmdok1
คำนวณ
|
4. ให้ดับเบิลคลิกที่
CommandButton ใน Frame การลบ แล้วเขียนคำสั่งทดสอบการใช้งาน
ดังนี้
|
การคูณ
5. กำหนดคุณสมบัติของฟอร์มและคอนโทรลต่างๆ
ตามตารางดังนี้
ชนิดของคอนโทรล
|
ช่องคุณสมบัติ
|
ค่าที่กำหนดให้
|
Frame
|
Name
|
Frame3
|
TextBox
|
Name
|
Text7
Text8
Text9
|
CommandButton
|
Name
Caption
|
Cmdok2
คำนวณ
|
6. ให้ดับเบิลคลิกที่
CommandButton ใน Frame การคูณ แล้วเขียนคำสั่งทดสอบการใช้งาน
ดังนี้
|
การหาร
7. กำหนดคุณสมบัติของฟอร์มและคอนโทรลต่างๆ
ตามตารางดังนี้
ชนิดของคอนโทรล
|
ช่องคุณสมบัติ
|
ค่าที่กำหนดให้
|
Frame
|
Name
|
Frame4
|
TextBox
|
Name
|
Text10
Text11
Text12
|
CommandButton
|
Name
Caption
|
Cmdok3
คำนวณ
|
. ให้ดับเบิลคลิกที่
CommandButton ใน Frame การหาร แล้วเขียนคำสั่งทดสอบการใช้งาน
ดังนี้
|
การทำงานกับสตริง
9. กำหนดคุณสมบัติของฟอร์มและคอนโทรลต่างๆ
ตามตารางดังนี้
ชนิดของคอนโทรล
|
ช่องคุณสมบัติ
|
ค่าที่กำหนดให้
|
Frame
|
Name
|
Frame5
|
TextBox
|
Name
|
Text13
Text14
Text15
|
CommandButton
|
Name
Caption
|
Cmdok4
รวมสตริง
|
10. ให้ดับเบิลคลิกที่
CommandButton ใน Frame การทำงานกับสตริง แล้วเขียนคำสั่งทดสอบการ ใช้งาน ดังนี้
|
โอเปอร์เรเตอร์ในการเปรียบเทียบ
สัญลักษณ์ของโอเปอร์เรเตอร์
|
ความหมาย
|
รูปแบบการใช้งาน
|
=
|
เท่ากับ
|
A
= B
|
<>
|
ไม่เท่ากับ
|
A
<> B
|
<
|
น้อยกว่า
|
A
< B
|
>
|
มากกว่า
|
A
> B
|
<=
|
น้อยกว่าหรือเท่ากับ
|
A
<= B
|
>=
|
มากกว่าหรือเท่ากับ
|
A
>= B
|
ลำดับการทำงานของโอเปอร์เรเตอร์
(Precedence)
ต่อไปจะกล่าวถึงลำดับการทำงานก่อนหลัง (Precedence) ของโอเปอร์เรเตอร์ชนิดต่างๆ
ใน Visual Basic 6 โดยการเรียงลำดับการทำงานจากสูงสุดไปยังต่ำสุด
ในการคำนวณค่าขอนิพจน์ใดๆ
จะดูว่าโอเปอร์เรเตอร์ใดมีลำดับในการทำก่อนสูงสุดก็ให้หาค่าจากการกระทำของโอเปอร์เรเตอร์นั้นก่อน
ตามด้วยหาค่าจากการกระทำของโอเปอร์เรเตอร์ที่มีลำดับในการทำงานต่ำลงมา และทำเช่นนี้ไปเรื่อยๆ
จนกระทั่งได้ผลลัพธ์ในขั้นสุดท้าย
ตารางแสดงลำดับการทำงานก่อนหลังของโอเปอร์เรเตอร์
โดยเรียงลำดับการทำก่อน เรียงจากบนลงล่าง
ชนิดของโอเปอร์เรเตอร์
|
โอเปอร์เรเตอร์
|
คำอธิบาย
|
โอเปอร์เรเตอร์คำนวณ
|
^
|
การยกกำลัง
|
|
–
|
การบอกว่าเป็นจำนวนลบ
|
|
*, /
|
การคูณ, การหาร
|
|
\
|
การหารจำนวนเต็ม
|
|
Mod
|
การหาเศษจากการหาร
|
|
+, –
|
การบวก, การลบ
|
โอเปอร์เรเตอร์เชื่อมต่อสตริง
|
&
|
การเชื่อมต่อสตริง
|
โอเปอร์เรเตอร์เปรียบเทียบ
|
=, <>, >=, <=, <,
>, Like, Is
|
การเปรียบเทียบ
|
โอเปอร์เรเตอร์ตรรกะ
|
Not
|
|
|
And
|
|
|
Or
|
|
|
Xor
|
|
|
Eqv
|
|
|
Imp
|
|
ค่าคงที่ (Constant)
ในกรณีที่ต้องใช้ข้อมูลที่มีค่าไม่เปลี่ยนแปลงตลอด
เราจะใช้การกำหนดให้เป็นค่าคงที่
User Defined Constant
เป็นค่าคงที่ที่เราเป็นผู้กำหนดเอง โดยใช้คำสั่ง Const ในการประกาศค่าคงที่
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น